กิจกรรม 8 พฤศจิกายน 2553

ส่งงาน
       ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อสอบข้อ 1 - 5 โดย save โจทย์ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ และนำไปลงในบทความบนBlog ของผู้เรียน


ตอบข้อ 3
  1. เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)     เยื่อหุ้มเซลล์มีชื่อเรียกได้หลายอย่าง เช่น พลาสมา เมมเบรน (plasma membrane) ไซโทพลาสมิก เมมเบรน (cytoplasmic membrane) เยื่อหุ้มเซลล์มีความหนาประมาณ 75 อังสตรอม ประกอบด้วยโปรตีนประมาณร้อยละ 60 ลิพิดประมาณร้อยละ 40 การเรียงตัวของโปรตีนและลิพิดจัดเรียงตัวเป็นสารประกอบเชิงซ้อน การเรียงตัวในลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ยูนิต เมมเบรน (unit membrane)

1. ไรโบโซม (ribosome) เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็ก พบได้ในสิ่งมีชีวิตทั่วไป ประกอบด้วยสารเคมี 2 ชนิด คือ กรดไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic acid:RNA) กับโปรตีน มีทั้งที่อยู่เป็นอิสระในไซโทพลาซึม และเกาะอยู่บนเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม พวกที่เกาะอยู่ที่เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมจะบฃพบมากในเซลล์ต่อมที่สร้างเอนไซม์ต่างๆ พลาสมาเซลล์เหล่านี้จะสร้างโปรตีนที่นำไปใช้นอกเซลล์เป็นสำคัญ
1. ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) ส่วนใหญ่จะมีรูปร่างกลม ท่อนสั้น ท่อนยาว หรือกลมรีคล้ายรูปไข่ ประกอบด้วยสารโปรตีน ประมาณร้อยละ 60-65 และลิพิดประมาณร้อยละ 35-40 ภายในไมโทคอนเดรียมีของเหลวซึ่งประกอบด้วยสารหลายชนิดเรียกว่า มาทริกซ์ (matrix) มีเอนไซม์ที่สำคัญในการสร้างพลังงานจากการหายใจ นอกจากนี้ยังพบเอนไซม์ในการสังเคราะห์ DNA สังเคราะห์ RNA และโปรตีนด้วย หน้าที่ของไมโทคอนเดรียคือ เป็นแหล่งสร้าง







ตอบข้อ4
    การลำเลียงแบบใช้พลังงาน อาศัยโปรตีนที่แทรกอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่เป็นตัวลำเลียงเช่นเดียวกับการแพร่แบบฟาซิลิเทต แต่แตกต่างกันตรงที่เซลล์ต้องใช้พลังงานเป็นตัวพา เรียกว่า ATP เพื่อเป็นแรงผลักในการลำเลียง ซึ่งทิศทางตรงข้ามกับการแพร่




ตอบข้อ2
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อส่วนใหญ่เป็นกลไกแบบตอบสนองกลับ (feedback mechanism) ซึ่งอาจจะเป็นไปในทางบวก (กระตุ้น) เรียกว่า positive feedback หรืออาจจะเป็นไปในทางลบ (ยับยั้ง) เรียกว่า negative feedback
-

ตอบข้อ3
เลือดเป็นบัฟเฟอร์ชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีตัวควบคุมค่าpH นั่นก็คือ สารโซเดียมไบคาร์บอเนตในเลือด
การที่ในเลือดมีสารที่ทำหน้าที่เป็นบัฟเฟอร์คอยรักษาสมดุลย์ pH อยู่ตลอด ก็เพื่อสอดรับกับการแลกเปลี่ยนออกซิเจนกับคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งจะส่งผลกระทบกับ pH ได้มา

ตอบข้อ1
 ต้นพืชที่ถูกเชื้อไวรัส strain หนึ่งเข้าไปทำลายแล้วนั้น ตามปกติจะไม่ถูกเชื้อไวรัสชนิดเดียวกันแต่ต่าง strain เข้าไปก่อให้เกิดโรคได้อีก ถ้าเชื้อไวรัสเป็นชนิดอื่นจึงจะเกิดโรคขึ้นได้ ความสัมพันธ์ในลักษณะนี้ได้ถูกนำมาใช้ทดสอบเชื้อไวรัสว่าเป็นชนิดเดียว 




ตอบข้อ4
แอนติบอดี (อังกฤษ: antibody) หรือ อิมมิวโนโกลบูลิน (อังกฤษ: immunoglobulin) เป็นโปรตีนขนาดใหญ่ในระบบภูมิคุ้มกันที่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ชั้นสูงอื่นๆ สร้างขึ้น ที่มีหน้าที่ตรวจจับและทำลายฤทธิ์สิ่งแปลกปลอมต่อร่างกาย เช่น แบคทีเรีย และไวรัส แอนตีบอดีแต่ละชนิดจะจดจำโมเลกุลเป้าหมาย
ตอบข้อ2



ตอบข้อ4
ตอบข้อ3


ตอบข้อ4

2 ความคิดเห็น: